บอกลา...ออฟฟิศซินโดรม
ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) จัดอยู่ในกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด ซึ่งมักเกิดจากการที่ต้องใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ำไปมา เป็นระยะเวลานานและต่อเนื่อง โดยผลของมันจะทำให้กล้ามเนื้อเกิดการอักเสบ ตลอดจนปวดเมื่อยตามอวัยวะส่วนอื่น ๆ ไล่ลงมาตั้งแต่คอ หลัง บ่า ไหล่ แขน หรือแม้กระทั่งบริเวณข้อมือก็ไม่เว้น ซึ่งหากผู้ที่พบว่ามีอาการของโรคออฟฟิศซินโดรม แต่ไม่ทำการรักษาตัวในทันทีที่พบ อาการอาจทรุดหนักลงและลุกลามจนผู้ป่วยมีอาการปวดชนิดเรื้อรังได้
นอนไม่หลับ
การมีพฤติกรรมที่ไม่ส่งเสริมการนอนเช่น การทำงาน หรือใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ช่วงเวลาที่ควรนอน ความวิตกกังวล
ทำให้เกิดความผิดปกติในการนอน ทำให้นอนยาก ไม่ง่วงเมื่อถึงเวลานอน นอนหลับไม่สนิท นอนแล้วตื่นกลางดึก ตื่นแล้วกลับไปนอนไม่ได้อีก หรือแม้จะรู้สึก อ่อนเพลียเพียงใดก็ไม่สามารถนอนหลับได้
ปวดหลัง
ที่เกิดจากการนั่งหน้าคอมพิวเตอร์ทั้งวันเป็นจุดเริ่มต้นของโรคนี้ แต่ถึงจะรู้สาเหตุหลายคนก็ยังเลือกที่จะปล่อยไว้ คิดว่ากินยาเดี๋ยวก็ดีขึ้น ไปนวดเดี๋ยวก็หาย แต่จริงๆ แล้วการปวดเรื้อรังอาจนำไปสู่โรคที่ร้ายแรง เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท แพทย์จึงอยากให้สังเกตอาการอื่น ๆ ด้วย ดังนี้
ปวดคอ
การนั่งอยู่ในท่าเดิมนานๆ เป็นสาเหตุของอาการปวดคอที่ อาจปวดแบบเป็นๆ หายๆ หรือปวดเรื้อรัง ถ้าอาการปวดมาจากกล้ามเนื้อจะไม่ค่อยก่อปัญหาอะไรมาก แต่ถ้าปวดรุนแรงมากเพราะหมอนรองกระดูกสันหลังบริเวณกระดูกต้นคอเสื่อม แล้วเคลื่อนไปทับเส้นประสาท หรือไขสันหลัง
โดยสามารถแบ่งได้ 3 กลุ่มดังนี้
• กลุ่มที่มีอาการปวดคออย่างเดียว
ปวดมาถึงบ่าและสะบัก กลุ่มนี้ถึงแม้จะรักษาค่อนข้างง่าย แต่ก็เป็นอันตรายหรือภัยเงียบด้วยเช่นกัน
• กลุ่มที่ปวดเพราะมีการกดทับเส้นประสาท
ปวดร้าวลงแขนไปจนถึงมือร่วมกับอาการชา รายที่เป็นมากๆ อาจมีอาการอ่อนแรงร่วมด้วย เช่น ยกไหลไม่ขึ้น ขยับนิ้ว หรือกระดกข้อมือไม่ขึ้น นอกจากนี้ หากมีการกดทับเส้นประสาทที่ทำงานเกี่ยวข้องกับส่วนใด จะส่งผลให้กล้ามเนื้อส่วนนั้นลีบลงด้วย บางครั้งอาจลีบถาวร
• กลุ่มที่ปวดเพราะมีการกดทับไขสันหลัง
กลุ่มนี้จะมีอาการแสดงที่ไม่ชัดเจน ทำให้กว่าผู้ป่วยจะรู้ตัวก็มักจะเป็นมากแล้ว ผู้ป่วยอาจมีประวัติปวดคอเรื้อรัง ร่วมกับปวดลงแขนหรือลงขา หรือมีอาการชาร่วมด้วย ไปจนถึงมีอาการอ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อบางส่วนเจ็บ กล้ามเนื้อมือลีบ หยิบจับของเล็กๆ ลำบาก
คนที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อแบบเรื้อรัง ก็จะสามารถสังเกตอาการตัวเองได้ว่า ถ้ามีอาการปวดที่บริเวณกล้ามเนื้อ, ปวดร้าวลึก ๆ ที่บริเวณกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย, อาจจะปวดอยู่ตลอดเวลา หรือว่าปวดเฉพาะเวลาที่เอามือกดแล้วรู้สึกเจ็บ ความรุนแรงของอาการปวด
ส่วนประกอบที่สำคัญ
Marigold extract
สารสกัดจากดอกดาวเรือง 100
Blueberry extract
สารสกัดจากบลูเบอร์รี่ 30
Green tea extract
สารสกัดจากชาเขียว 30
Ginger extract
สารสกัดจากขิง 30
L-Glutamine (100%)
แอล-กลูตามีน (100%) 30
Bacopa extract
สารสกัดพรมมิ 30
L-Lysine monohydrochloride
แอล-ไลซีน โมโนไฮโดรคลอไรด์ 30
L-Carnitine L-Tartrate (100%)
แอล-คาร์นิทีน แอล-ทาเทรท (100%) 30
Reishi extract
สารสกัดจากเห็ดหลินจือ 20
Astragalus extract
สารสกัดจากปักคี้ 20
Mangosteen extract
สารสกัดจากมังคุด 20
Yamabushitake powder
ผงยามาบูชิตาเกะ 20
Coenzyme Q10 10%
โคเอ็นไซม์ คิวเท็น 10% 15
Taurine ทอรีน 15
Oat beta-glucan 22%
เบต้ากลูแคนจากโอ๊ต 22% 15
Ginseng extract
สารสกัดจากโสม 15
Bilberry extract
สารสกัดจากบิลเบอร์รี่ 10
Capsicum extract
สารสกัดจากพริก 10
Turmeric extract
สารสกัดจากขมิ้นชัน 10
ขนาดบรรจุ : 30 เม็ด
เลขสารบบ อย. : 10-1-15456-5-0047
วิธีรับประทาน : รับประทานก่อนอาหาร 1 เม็ด/วัน